วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559

พระกรณียกิจที่สำคัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9

พระกรณียกิจที่สำคัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9



1.โครงการแกล้งดิน



แกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว จะทำด้วยการขังน้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจนทำให้ดินเปรี้ยวจัด เมื่อถึงที่สุดแล้ว จะมีการระบายน้ำออกแล้วปรับสภาพดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งสามารถใช้ดินในการเพาะปลูกได้










2.โครงการปลูกหญ้าแฝก 


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้ทรงศึกษาเรื่องการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ำจากเอกสารของธนาคารโลก ที่นาย Richard Grimshaw ได้ทูลเกล้าฯ ถวาย และพระองค์ได้พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับหญ้าแฝก โดยให้ทรงทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน จนปัจจุบันมีหน่วยงานกว่า 50 หน่วยงาน ดำเนินงานสนองพระราชดำริการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก ส่งผลให้การดำเนินงานก้าวหน้ามากขึ้นตามลำดับ









3.แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง:เกษตรทฤษฎีใหม่



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นต้น โดยการทำเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นได้แก่ ขั้นต้น คือ การแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตรา 30-30-30-10 เพื่อขุดเป็นสระกักเก็บน้ำ 30% ปลูกข้าวในฤดูฝน 30% ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผักสมุนไพร 30% และเป็นที่อยู่อาศัยอีก 10%

จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง คือการให้เกษตรกรรวมกันในรูปแบบของกลุ่ม สหกรณ์ เพื่อดำเนินการในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม คือการติดต่อประสานงาน จัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อใช้ลงทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป









4.โครงการฝนหลวง


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดำริส่วนพระองค์ในเรื่องการจัดทำฝนหลวง เพื่อบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้ำในการเกษตร โดยมีการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนหลวงขึ้น ซึ่งจะใช้สารเคมีโปรยในท้องฟ้า จนกระทั่งไอน้ำอิ่มตัวและกลั่นตัวออกมากลายเป็นเม็ดฝน








5.กังหันน้ำชัยพัฒนา


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้มีพระราชดำริให้มูลนิธิชัยพัฒนาดำเนินการวิจัย และพัฒนากังหันน้ำชัยพัฒนาขึ้น เพื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ ทำให้น้ำเสียกลายเป็นน้ำดี และสามารถประยุกต์ใช้ในการอุปโภคบริโภคของประชาชน น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และเพิ่มออกซิเจนให้บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทางการเกษตร




My local


Nakhon  SiT hammarat




     It is one of the most ancient cities of Thailand, previously the Kingdom of Ligor, and contains many buildings and ruins of historical significance. The king of Srivijaya "had established a foothold on the Malay Peninsular at Ligor" by 775, where he "built various edifices, including a sanctuary dedicated to the Buddha and to the Bodhisattvas Padmapani and Vajrapani." [1]:84–85,91 With the fall of the Siamese capital of Ayutthaya in 1767 it regained independence, but returned to its allegiance on the founding of Bangkok. In the 17th century British, Portuguese, and Dutch merchants set up factories there and carried on an extensive trade. Its origins are not fully known. Most historians recognize the Tambralinga Kingdom of Chinese records as a precursor of Nakhon Si Thammarat. The town chronicles of this time are hardly separable from legend, but they do tell of an abandonment and refounding of the town, which would explain the break in history between Tambralinga and Nakhon Si Thammarat. References to a country named Poling appear in Chinese chronicles from the Tang dynasty period down to the early Ming dynasty. Many scholars identify Poling with Maling and Danmaling was one of the member-states of Sanfoqi (the Chinese equivalent to Srivijaya) in the central part of the Malayu Peninsula or today southern Thailand. Poling may also be equated to the Tambralingarat (Tambralinga State) that appears in Indian sources. By the end of the 12th century, Tambralinga had become independent of Srivijaya Kingdom. Its rapid rise to prominence from the 13th century to the beginning of 14th century, Tambralinga had occupied the entire Malay Peninsula and become one of the dominant south-east Asian states. By the end of the 14th century, Tambralinga had become a part of Siam (now Thailand) named Nakhon Si Thammaraj. At the time of the Sukhothai Kingdom, the Nakhon Si Thammarat Kingdom was already listed as one of the kingdoms under control of the Thai, which it has remained during most of its history. It was usually known as Ligor to European merchants in the 16th century. During the period of the five separate states following the fall of Ayutthaya in 1767, the Prince of Nakhon Si Thammarat made an abortive bid for independence, but was pardoned by Taksin and retired to Thonburi. At the end of the 19th century, the kingdom was finally fully absorbed into Siam by converting it into the Monthon Nakhon Si Thammarat. When the monthon system was abolished in 1932, the town became a provincial capital.


Chang Klang District





Amphoe location in Nakhon Si Thammarat Province
Coordinates:
Country  Thailand
Province Nakhon Si Thammarat
Seat Chang Klang
Area

 • Total 232.5 km2 (89.8 sq mi)
Population (2005)

 • Total 29,594

 • Density 127.3/km2 (330/sq mi)

Time zone THA (UTC+7)
Postal code 80250
Geocode 8022

Chang Klang (Thai: ช้างกลาง) is a district (Amphoe) of Nakhon Si Thammarat Province,southern Thailand.

History

The district was created on July 15, 1996 by splitting the three นsoutheastern tambon fromChawang district.[1]
Following a decision of the Thai government on May 15, 2007, all of the 81 minor districts were to be upgraded to full districts.[2] With the publishing in the Royal Gazette on August 24 the upgrade became official

Geography

Neighboring districts are (from the north clockwise) Chawang, Lan Saka, Thung Songand Na Bon.

Administration

The district is subdivided into 3 subdistricts (tambon), which are further subdivided into 35 villages (muban). There are no municipal (thesaban) areas, and 3 Tambon administrative organizations (TAO).

No. Name Thai name Villages Inh.    
1. Chang Klang ช้างกลาง 17 16,989
2. Lak Chang หลักช้าง 10 7,581
3. Suan Khan สวนขัน 18 5,024

Recommend Menu from Nakhon Si Thammarat


               Kanom Jeen  Nam  Ya

                    



                                 
                         Khao  Yam




                        Sour  soup 

                      


                     Chingcan


                        



Top  Tourist  attractions  in  Nakhon  So  Thammarat

Chang  Klang  District




1. Namtok  Tapes



2. Namtok  Sound At



3. Namtok  Sounkhun



4. Wad  Sounkhun





5. Wad  Tatnoi


6. Kaonhen  Viewpoint



Festivals  and  traditions




1.ประเพณีเเห่ผัาขึ้นธาตุ



2. ประเพณีสารทเดือนสิบ



3.ประเพณีชักพระ


4. เทศกาลมหาสงกรานต์เเห่นางดานเมืองนครศรีธรรมราช

Mother's day

               วันแม่เเห่งชาติ


                                      
     


       

Mother's Day was first held on 10 March 2486 at Suan Amporn by the Ministry of Health, but during the World War. Two years later, on Mother's Day, so no need to. When a crisis or war Many agencies have tried to date her again. But it was not successful enough. And changing the date for the mother several times. The next day, the government approved the start date is April 15 since 2493, but stopped again in later years. The Ministry of Culture is going to collapse The National Culture Council, which commissioned the work day without a sponsor.




The Association of Catholic Teachers Cor me of Thailand held a Mother's Day again on 4 October 2515 but has held only one year. Until the year 2519 the Board of Directors of the Council on Social Welfare of Thailand under the Patronage it has set up a new Mother's Day is a day to be exact. The phones went out on his birthday of Queen Sirikit. The Queen on August 12 as a Mother's Day present Match of the Day (August 12) every year. Coinciding with the anniversary of his birth), Her Majesty Queen Sirikit. The Queen) by day use such as Mother's Day 2519, when it had been used the previous day, 10 March, 15 April, and October 4.




งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน
ต่อมาสมาคมครูครทอลิกเเห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์เเห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ ปัจจุบันตรงกับวันที่ (12 สิงหาคม)ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของ)สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) โดยเริ่มใช้วันดังกล่าวเป็นวันแม่แห่งชาติเมื่อ พ.ศ. 2519 ก่อนหน้านั้นเคยใช้วันที่ 10 มีนาคม, 15 เมษายน, และ 4 ตุลาคม





       

Symbols used on Mother's Day is flowers, which are white, fragrant and long distance. It blooms throughout the year. The interpretation comparable to the pure love of a mother whose child is not diminished, and the flower is a symbol of Mother's Day flowers since then.




สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาว ส่งกลิ่นหอมได้ไกลและได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี โดยตีความเปรียบกับความรักบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่เสื่อมคลายไปและกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

แนวทางศึกษาต่อ

                 แนวทางการศึกษา






    หลักสูตร.
         
     คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาเเละสุขภาพ
            หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 

สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา 

โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา 
โปรแกรมวิชาการฝึกสอนกีฬา

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 

โปรแกรมวิชาการส่งเสริมสุขภาพ 
โปรแกรมวิชาการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 
โปรแกรมวิชาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 

สาขานันทนาการ 

โปรแกรมวิชานันทนาการบำบัด 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต 

สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 

โปรแกรมวิชาสื่อสารการกีฬา

สาขาวิชาธุรกิจ 

โปรแกรมวิชาธุรกิจสุขภาพ 
โปรแกรมวิชาการจัดการกีฬา 


สาขาวิชานันทนาการ 

โปรแกรมวิชาผู้นำนันทนาการ 
โปรแกรมวิชาการบริหารนันทนาการ 
โปรแกรมวิชานันทนาการเชิงพาณิชย์และการท่องเที่ยว 

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาพลศึกษา 

โปรแกรมวิชาพลศึกษา
โปรแกรมวิชาพลศึกษาสำหรับคนพิการ

สาขาวิชาสุขศึกษา 

โปรแกรมวิชาสุขศึกษา

สาขาวิชานันทนาการ 

โปรแกรมวิชานันทนาการ